บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันอังคาร ที่ 23 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.
Knowledge
- การนำเสนอบทความของเพื่อน
1. เด็กปฐมวัยเรียนวิทยาศาสตร์จากเป็ดและไก่
จัดการเรียนรู้ผ่านนิทาน มีการสอนเด็กโดยการร้องเพลง สนทนาและตั้งคำถาม : ดูเพิ่มเติม
: นำเสนอโดย นางสาวนภาวรรณ กรุดขุนเทียน
2. 5 แนวทางสอนคิด เติมวิทย์ให้เด็กอนุบาล
วิทยาศาสตร์ คือ ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตนเอง ซึ่งความพยายามเช่นนี้จะติดตัวกับมนุษย์เรามาตั้งแต่แรกเกิด เห็นได้จากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้อยากเห็น
ช่างสังเกต คอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่พวกเขาเจอ และบางครั้งก็เป็นคำถามที่ยากเกินกว่าที่ผู้ใหญ่จะให้คำตอบ :
: นำเสนอโดย นางสาวสุธาสินี ธรรมานนท์
3. วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่อยากรู้อยากเห็น สามารถแสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กสนใจวัตถุและเหตุการณ์ เด็กเล็กมีวิธีการเรียนรู้คล้ายวิทยาศาสตร์สามารถทำงานด้วยทักษะการแสวงหาความรู้
: นำเสนอโดย นางสาวนฤมล อิสระ
4. โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร : นำเสนอโดย นางสาวยุพดี สนประเสริฐ
สสวท. ได้เห็นความสำคัญของการปลูกฝังการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตั้งแต่ระดับปฐมวัย
โดยได้ดำเนิน “โครงการบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีปฐมวัย” ขึ้น
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา ในรูปของกิจกรรมบูรณาการสหวิชา ให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการสืบเสาะหาความรู้ การคิด และลงมือแก้ปัญหาด้วยประสบการณ์ตรงอย่างเหมาะสมกับวัย และเป็นไปตามหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย : ดูเพิ่มเติม
- กิจกรรมพับกระดาษ
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันอังคาร ที่ 23 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.
Knowledge
- การนำเสนอบทความของเพื่อน
1. เด็กปฐมวัยเรียนวิทยาศาสตร์จากเป็ดและไก่
จัดการเรียนรู้ผ่านนิทาน มีการสอนเด็กโดยการร้องเพลง สนทนาและตั้งคำถาม : ดูเพิ่มเติม
: นำเสนอโดย นางสาวนภาวรรณ กรุดขุนเทียน
2. 5 แนวทางสอนคิด เติมวิทย์ให้เด็กอนุบาล
วิทยาศาสตร์ คือ ความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตนเอง ซึ่งความพยายามเช่นนี้จะติดตัวกับมนุษย์เรามาตั้งแต่แรกเกิด เห็นได้จากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้อยากเห็น
ช่างสังเกต คอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่พวกเขาเจอ และบางครั้งก็เป็นคำถามที่ยากเกินกว่าที่ผู้ใหญ่จะให้คำตอบ :
: นำเสนอโดย นางสาวสุธาสินี ธรรมานนท์
3. วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่อยากรู้อยากเห็น สามารถแสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กสนใจวัตถุและเหตุการณ์ เด็กเล็กมีวิธีการเรียนรู้คล้ายวิทยาศาสตร์สามารถทำงานด้วยทักษะการแสวงหาความรู้
: นำเสนอโดย นางสาวนฤมล อิสระ
4. โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร : นำเสนอโดย นางสาวยุพดี สนประเสริฐ
สสวท. ได้เห็นความสำคัญของการปลูกฝังการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตั้งแต่ระดับปฐมวัย
โดยได้ดำเนิน “โครงการบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีปฐมวัย” ขึ้น
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา ในรูปของกิจกรรมบูรณาการสหวิชา ให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการสืบเสาะหาความรู้ การคิด และลงมือแก้ปัญหาด้วยประสบการณ์ตรงอย่างเหมาะสมกับวัย และเป็นไปตามหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย : ดูเพิ่มเติม
- กิจกรรมพับกระดาษ
Applications
- ในการจัดกิจกรรมให้แก่เด็กควรเลือกกิจกรรมที่เด็กให้ความสนใจ เป็นเรื่องใกล้ตัวเด็ก ไม่ยากและง่ายจนเกินไป เด็กสามารถทำได้เอง ซึ่งจะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ดีขึ้น
- กิจกรรมในชั้นเรียนในวันนี้สามารถนำไปปรับใช้กับเด็กได้จริง เด็กสามารถเรียนรู้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้จากกิจกรรมนี้ ซึ่งผู้สอนอาจนำไปประยุกต์เพิ่มเติมหรือปรับใช้ให้มีความเหมาะสมกับเด็กมากยิ่งขึ้นเพื่อเด็กจะได้เกิดการเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ
- จากบทความที่เพื่อนนำเสนอทำให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถนำมาใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่เด็กได้
Evaluation
• การถามคำถามผู้เรียน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดและมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
• ให้คำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับหน่วยการจัดประสบการณ์ เพื่อให้นักศึกษาได้นำไปใช้เป็นแนวทางในการแก้ไข
• มีการแนะทำเทคนิคในการจัดกิจกรรมให้แก่เด็ก คือ ควรให้เด็กเป็นผู้ทดลองและลงมือทำกิจกรรมต่างๆด้วยตนเองเพื่อให้เด็กเกิดทักษะต่างๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น